การสำรวจดิน✅ คือ กรรมวิธีการเจาะลงไปในชั้นดิน🌏, การเก็บตัวอย่างดิน📌, ทดสอบคุณสมบัติดินในสนาม✨, หยั่งชั้นดินจากผิวดิน📌 หรือใช้เทคนิคอื่น ๆ🎯 เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลชั้นดินทั้งแนวดิ่งและแนวราบ🌏 เพียงพอในการที่จะออกแบบ หรือศึกษาทางด้านปฐพีกลศาสตร์✨ การสำรวจดินต้องคำนึงถึงประโยชน์ใช้งาน🛒 เช่น งานถนนหรือสนามบิน📢 การเจาะสำรวจจะทำเพียงตื้น ๆ✨ แต่งานฐานรากต้องสำรวจลึกกว่าปลายเข็มที่ใช้งาน📢 การสำรวจดินมีหลายประเภท📢
🛒🛒🛒วิธีการเจาะสำรวจดินที่นิยม🥇✨✨✨
📢📢📢1. การสำรวจธรณีฟิสิกส์พื้นผิว👉 ได้แก่การสำรวจโดยไม่ต้องทำการเจาะสำรวจ🦖 แต่ใช้เครื่องมือทดสอบบนพื้นผิวโดยใช้หลักการทางฟิสิกส์สำรวจรูปร่างการวางตัวของชั้นดิน🌏 วิธีนี้มีความแม่นยำน้อยกว่าการเจาะสำรวจ📌 ตัวอย่างการสำรวจด้วยวิธีนี้ได้แก่🥇 การทดสอบ Resistivity✨ การทดสอบ Seismic Reflection✅ และการทดสอบ Ground Penetration Radar (GPR)🛒 เป็นต้น
📌📌📌2. การทดสอบคุณสมบัติดินในสนาม🦖 คือ การทดสอบดิน (https://groups.google.com/g/comp.security.ssh/c/Lj3I5-T6SZ0)ในสถานที่จริง🛒 โดยไม่ได้เก็บตัวอย่างดินมาทดสอบในห้องปฏิบัติการ📌 แต่ใช้เครื่องมือทดสอบหยั่งลงในพื้นดินเพื่อตรวจสอบคุณสมบัติดิน ณ ตำแหน่งความลึกต่าง ๆ🛒 ข้อดีของวิธีนี้คือดินถูกทดสอบในสภาวะธรรมชาติ✨ แต่ข้อเสียคือเครื่องมือวัดมีความละเอียดน้อยกว่าเครื่องมือในห้องปฏิบัติการ👉 ตัวอย่างการสำรวจด้วยวิธีนี้ ได้แก่⚡ การทดสอบแรงเฉือนด้วยใบพัด📌 การทดสอบการเจาะกรวย🛒 และการทดสอบ Standard Penetration🛒 เป็นต้น
🎯🎯🎯3. การเจาะดิน👉 การเจาะสำรวจมักจะทำควบคู่กันไปกับการเก็บตัวอย่างดิน และการทดสอบคุณสมบัติในสนาม🛒 ตัวอย่างวิธีการเจาะสำรวจได้แก่📢
3.1 การเจาะโดยใช้สว่านมือ (Hand Auger)📢 เป็นการเจาะด้วยแรงงานคน🥇 โดยใช้สว่านมือและก้านเจาะ🌏 ใช้กับดินลักษณะต่าง ๆ กัน👉 โดยที่ก้านเจาะยาวประมาณ 1 เมตร📌 สามารถต่อให้ยาวหลาย ๆ ท่อนได้⚡ เมื่อกดและหมุนมือถือจนดินเต็มสว่านแล้วดึงขึ้นเพื่อนำดินออก✅ ดินส่วนนี้อาจใช้ในการจำแนกดินทางวิศวกรรมได้🛒 การเจาะด้วยสว่านมือสามารถทำได้ลึกถึง 6-10 เมตร🦖 ในดินเหนียวแข็งปานกลางที่ระดับน้ำใต้ดินไม่สูงนัก✨
3.2 การฉีดล้างดิน (Wash Boring)⚡
เป็นการเจาะดินด้วยการสูบน้ำผ่านก้านเจาะไปยังหัวฉีดที่ก้นหลุมพร้อมกับการกระแทกหรือหมุนหัวเจาะ🌏 ทำให้ดินก้นหลุมถูกน้ำพาไหลขึ้นมาบนผิวดินจนเกิดหลุม📌 น้ำที่พาดินขึ้นมาจะไหลลงอ่างตกตะกอนและสูบน้ำที่ใสนำกลับมาใช้ใหม่ในลักษณะการหมุนเวียน📢 วิธีนี้ต้องอาศัยโครงสามขา (Tripod)🎯 เครื่องกว้าน (Motor และ Catch head)⚡ และปั๊มน้ำ✨ ในกรณีที่เจาะดินอ่อนหรือทราย🌏 จะต้องใช้ปลอกกันดิน🎯ด้วย โดยต่อเป็นท่อน ๆ การเจาะลักษณะนี้เป็นวิธีการเจาะดินที่เป็นที่นิยมในประเทศ👉 เนื่องจากสามารถเจาะดินได้ลึกและสามารถใช้เจาะไปถึงตำแหน่งที่ต้องการเพื่อเก็บตัวอย่างดินหรือทดสอบในสนามได้✨ การเจาะแบบนี้สามารถเจาะได้ลึกกว่า 60 เมตรในดินกรุงเทพฯ⚡
น่าสนใจค่ะ
น่าสนใจครับ
เข้าใจแล้วครับ